Not known Facts About วิกฤตคนจน
Not known Facts About วิกฤตคนจน
Blog Article
สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์
ปรับปรุงระบบภาษีให้สามารถกระจายรายได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น มาตรการทางภาษีเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือสำคัญในการกระจายรายได้ แต่ในปัจจุบันยังมีช่องโหว่ในระบบให้คนรวยจำนวนมากไม่ต้องเสียเงินได้หลายประเภท รัฐบาลควรแก้ไขกฎหมายเพื่อปิดช่องโหว่ต่างๆ ตลอดจนทบทวนมาตรการลดหย่อนภาษีที่เอื้อกับผู้มีรายได้สูง และพัฒนาการจัดเก็บภาษีที่ดินและทรัพย์สินให้มีความเหมาะสม
การสนับสนุนนโยบายการผลิตเพื่อการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม
การศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพจิตนั้นไม่ง่ายนัก หากเรามีเพียงข้อมูลภาคตัดขวาง เราอาจไม่สามารถทราบได้ว่าปัจจัยใดเกิดขึ้นก่อน ยกตัวอย่างเช่น หากพบความสัมพันธ์ว่า ผู้มีรายได้ต่ำมีปัญหาสุขภาพจิตมากกว่า ก็บอกไม่ได้ว่า การมีรายได้ต่ำก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต หรือผู้มีปัญหาทางสุขภาพจิตมีความสามารถในการจัดการกับความกดดันทางเศรษฐกิจและสังคมด้อยลง จึงมีโอกาสตกงานหรือไม่สามารถเลือกงานได้มากนักจึงมีรายได้ต่ำ
นอกจากในไทยแล้ว คำถามนี้ก็เป็นสิ่งที่นักเศรษฐศาสตร์ทั่วโลกตั้งคำถามเช่นกันว่า ‘ความจน’ แท้จริงแล้วเป็นอย่างไร แล้วเรานำระดับตัวเลขรายได้มาชี้วัดได้จริงหรือไม่ และถ้าวัดได้ ระดับรายได้ที่ทำให้คนยากจนแท้จริงแล้วคือเท่าไหร่ เพราะแน่นอนว่าความยากจนไม่ได้ขึ้นอยู่กับระดับรายได้เท่านั้น แต่ยังขึ้นอยู่กับการเข้าถึงทรัพยากร และโอกาสในการทำมาหากิน ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าคนๆ นั้น อยู่ในพื้นที่ใด วิกฤตคนจน อายุเท่าไหร่ เชื้อชาติอะไร และนิยามตัวเองว่าเป็นเพศไหน ทำให้การนิยามคนจนเป็นเรื่องละเอียดอ่อนจนไม่สามารถนำตัวเลขเดียวมาวัดได้
นโยบายรัฐบาลเพื่อ(คน)ไทย: ทิ้งทวน 'เศรษฐา' ส่งไม้ต่อให้ 'แพทองธาร'
จากนั้นไม่นาน เธอก็ตัดสินใจลุกขึ้นไปหยิบสายยางและฉีดน้ำไปยังพื้นเฉลียง ถนนคอนกรีตหน้าบ้าน รวมถึงหลังคาเฉลียง เพื่อให้ปูนและกระเบื้องคายความร้อนออกมา
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่นี่ยินยอมนโยบายความเป็นส่วนตัว
แผนการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี
ระเบิดเวลาประชากร : เกิดน้อย แก่มาก ความท้าทายอนาคตไทย
ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน
รายงานของสภาพัฒน์ชี้ให้เห็นว่า คนจนที่มีความรุนแรงของปัญหาความยากจนเพิ่มขึ้นสอดคล้องกับตัวชี้วัดช่องว่างความยากจน
การจัดการความเหลื่อมล้ำจากวิกฤตโควิด